สำหรับมือใหม่หลายท่านที่อยากมีเว็บไซด์เป็นของตัวเอง
ไม่รู้จะเริ่มยังไง จะเช่าโฮสติ้งที่ไหนดี
ปัญหานี้นับว่าเป็นปัญหาอันดับแรกๆที่เจอเลยทีเดียว เบื้องต้นในการที่เราจะมีเว็บไซด์เป็นของตัวเองคือต้องมีพื้นที่เว็บไซด์ก่อน
แนะนำคนที่เริ่มต้นเลยนะคะ คือเลือกการเช่าพื้นที่แบบ Share hosting แล้วดียังไง?
ชื่อก็บอกอยู่แล้วว่าแชร์กับคนอื่น? ผู้เขียนเคยสงสัยเหมือนกันค่ะสำหรับ
Share hosting เพราะไปแชร์กับคนอื่นมันจะดีเหรอ
ตอนนี้พอจะเข้าใจกระบวนการแล้วเลยอยากมาแชร์คะ
Share hosting จะว่าเป็นบริการที่ได้รับการตอบรับสูงก็ว่าได้
ส่วนใหญ่ผู้ใช้บริการมักจะเลือกเช่า Share hosting
มาเป็นอันดับต้นๆ เพราะถูกคะ
ส่วนราคาก็จะแล้วแต่ผู้ให้บริการในแต่ละเจ้าจะคิดค่าบริการยังไง ส่วนใหญ่แบ่งราคาโดยใช้ข้อมูล 4 ตัวนี้
1) Bandwidth = หมายถึงการuploadข้อมูลระหว่างเครื่องกับserver เช่นในเวบเรามีข้อมูล 1gb.
คนเข้าเวบ 5 คน ก็จะมีการดึงข้อมูลรวม 5gb. ถ้าซื้อเพ็คเก็จ Data
Transfer 10gb. คนเข้าอีกเวบเราอีก5คนเวบ
Data Transfer suspend คือเปิดเวบไม่ได้ชั่วคราวจนการจะผ่านเดือนถัดไปก็เริ่มนับBandwidthใหม่ ไม่ได้นับเฉพาะคนเข้าเวบนะคะ รวมเวลาเรา upload ข้อมูลไปบน server ด้วย ทำให้ส่วนใหญ่คนใช้มักจะเลือก Data Transfer แบบ UNLIMITED แต่ถ้าเพิ่งทำเวบยังไม่ต้องเลือกก็ได้นะคะ
ข้อมูลยังไม่เยอะ ถ้าเยอะเมื่อไหร่ค่อย up แพ็คเก็จก็ได้
จ่ายแค่ส่วนต่าง
**สอบถามผู้ให้บริการดีๆด้วยนะคะ
บางเจ้าต้องคิดค่าแพ็จเก็จใหม่เลยไม่ได้คิดแค่แค่ส่วนต่างของราคา
2) Domain(S) หมายถึงในพื้นที่แพ็ตเก็จที่เราซื้อสามารถทำได้กี่โดเมน
เช่นเราซื้อแพ็คเก็จ Add Domain 2 domain แสดงว่าเราสามารถทำเวบได้2 โดเมน คือ www.domain-1.com กับ www.domain-2.com เวลาเรา เพิ่ม domain ไปที่ server ทาง server แบ่งพื้นที่ให้ทั้ง 2 โดเมนอัตโนมัติ และใช้พื้นที่ตามแพ็คเก็จที่ซื้อคะ ถ้าใครยังไม่มีplan ทำหลายเวบ แนะนำซื้อแบบ Add Domain 1 โดเมนก่อนคะ
ประหยัดงบด้วยคะ
3) MySQL Database หมายถึงการใช้ข้อมูลไปเก็บไว้ใน
Database คะ เช่น ถ้าใช้ wordpress ในการทำเวบจะใช้
1 Database ในการเก็บข้อมูล ถ้าไม่ได้เขียนระบบอะไรที่ซับซ้อนส่วนใหญ่ใช้แค่ 1 Database คะ
4) Disk Space หรือพื้นที่เวบไซด์ ทำงานเหมือนฮาร์สดิสหรือการเก็บข้อมูลคะ ไว้เก็บข้อมูลเวบ
ถ้าเวบที่เพิ่งทำใช้พื้นไม่เยอะใช้แบบเริ่มต้นก่อนก็ได้คะ ประหยัดค่อย up แพ็คเก็จทีหลัง ส่วนใหญ่ผู้ให้บริการจะตั้งราคาตามข้อมูลข้างต้นคะ
บางคนที่ไม่เคยซื้อแพ็จเก็จอาจโดนหลอกได้ เคยเจอเหมือนกันคะ
ผู้ให้บริการตั้งราคาปีละ3000บาท
เลยสงสัยว่าทำไมแพงจัง เลยเอาข้อมูลไปเปรียบเทียบกับเจ้าอื่น ปรากฏว่าถูกกว่าเยอะ
อาจจะใช้การมีชื่อเสียง จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ การบริการที่ได้รับมาตราฐานISO
เป็นเครื่องการันตี แต่ส่วนตัวนะคะ จะทำเวบกลางๆ คงไม่ใช้แพงขนาดนั้นคะ หรือจะลองใช้ของที่นี่ก็ได้นะคะ
เริ่มที่ราคาปีละ 599 บาท ดูรายละเอียด (ตกเช่าวันละ 1บาท 65 สตางค์)
พอจะทราบข้อมูลเบื้องต้นของการใช้งาน
Share hosting แล้วนะคะ คราวหน้าเราจะมาดูว่า Share
hosting สามารถรองรับคนที่เข้ามาดูเวบเราได้กี่คน
แล้วเมื่อไหร่ที่ไม่ควรใช้ Share hosting แล้ว
0 ความคิดเห็น:
Speak up your mind
Tell us what you're thinking... !
หมายเหตุ: มีเพียงสมาชิกของบล็อกนี้เท่านั้นที่สามารถแสดงความคิดเห็น